อำเภอท่าตะโก
ข้อมูลทั่วไป
ประวัติความเป็นมา
ชุมชนบ้านท่าตะโก
เกิดขึ้นเนื่องจากในอดีต การติดต่อค้าขาย การสัญจรไป มาจะอาศัยทางน้ำ
มีชุมชนเกิดขึ้นบริเวณสองฝั่งคลองท่าตะโก
บริเวณท่าจอดเรือมีตลาดซึ่งเป็นตลาดเทศบาลในปัจจุบัน
และบริเวณท่าจอดเรือมีต้นตะโกใหญ่ขึ้นต้นหนึ่งผู้คนสัญจรไปมาได้ยึดเอาต้นตะโกเป็นสัญลักษณ์ของท่า
จนคำว่า “ท่าตะโก” ติดปากติดหูประชาชนที่มาค้าขายและอยู่อาศัย
จนกระทั่งได้กลายเป็นชื่อของอำเภอมาจนทุกวันนี้
สำหรับเทศบาลตำบลท่าตะโก
เดิมเป็นสุขาภิบาลตำบลท่าตะโก โดยได้รับ การยกฐานะเป็นสุขาภิบาล เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2499
ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา
เล่มที่ 73
ตอนที่ 83 ต่อมาในปี พ.ศ. 2536 xระธานสุขาภิบาลมาจากการเลือกตั้งครั้งแรก และเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542
ได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลปัจจุบัน
เทศบาลตำบลท่าตะโก แบ่งออกเป็น 7 ชุมชน ประกอบด้วย
ชุมชนเจ้าแม่ราตรี
หมู่ที่ 1
ตำบลท่าตะโก
ชุมชนท่าตะโกพัฒนา
หมู่ที่ 1,7
ตำบลท่าตะโก
ชุมชนโคกมะรื่นเหนือ
หมู่ที่ 6
ตำบลท่าตะโก
ชุมชนโคกมะรื่นใต้
หมู่ที่ 6
ตำบลท่าตะโก
ชุมชนตลาดแปดธันวา
หมู่ที่ 1
ตำบลท่าตะโก
ชุมชนบ้านใหม่พัฒนา
หมู่ที่ 7
ตำบลท่าตะโก
ชุมชนสามัคยาราม
หมู่ที่ 7
ตำบลท่าตะโก
ลักษณะที่ตั้ง
เทศบาลตำบลท่าตะโก
ตั้งอยู่บริเวณหมู่ที่ 1
ทั้งหมด และหมู่ที่ 6 , 7 บางส่วนของตำบลท่าตะโก
อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเชิงเขา
มีลำคลองท่าตะโกไหลผ่านจำนวน 1 สาย
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดนครสวรรค์ ระยะห่างจากตัวจังหวัดนครสวรรค์ประมาณ
48 กิโลเมตร
เนื้อที่
เทศบาลตำบลท่าตะโก
อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์มีเนื้อที่รวม 2.66 ตารางกิโลเมตร
อาณาเขต
ทิศเหนือ
ติดต่อ
หมู่ที่ 10 ตำบลดอนคา และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าตะโก
ทิศใต้
ติดต่อ
หมู่ที่ 2 ตำบลทำนบ
ทิศตะวันออก
ติดต่อ
หมู่ที่ 1 ตำบลดอนคา
ทิศตะวันตก
ติดต่อ
หมู่ที่ 3 ตำบลท่าตะโก
สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะอากาศเป็นแบบมรสุมเมืองร้อนแบ่งออกเป็น3 ฤดู
ได้แก่ ฤดูร้อน อากาศแห้งแล้งและร้อนจัด ระหว่างเดือนมีนาคม – พฤษภาคม ฤดูฝน มีฝนตกบ้างพอสมควรระว่างเดือนมิถุนายน – กันยายน
การประกอบอาชีพ
อาชีพหลักของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าตะโก
ส่วนมากประกอบอาชีพค้าขาย
เพราะอยู่ในเขตเมืองที่มีระบบสาธารณูปโภคและสาสาธารณูปการที่ครอบคลุมทั่วพื้นที่
และยังเป็นจุดศูนย์กลางของการคมนาคมและขนส่ง ผลผลิตทางการเกษตรจากหมู่บ้าน
ตำบลรอบนอก ของอำเภอท่าตะโก ภายในเขตเทศบาลมีการทำการเกษตรเพียงเล็กน้อย เช่น ทำนา
ทำไร่ และ ปศุสัตว์ เป็นต้น
สภาพทางโครงสร้างพื้นฐาน
การคมนาคม
ในเขตเทศบาลมีถนนเชื่อมติดต่อจังหวัดนครสวรรค์ คือ ถนนสายไพศาลี–
ท่าตะโก – นครสวรรค์
นอกจากนี้ยังมีถนนสายรองเชื่อมต่อกับอำเภอหนองบัว อำเภอตากฟ้า อำเภอตาคลี
โดยมีรถยนต์โดยสารขนาดใหญ่และขนาดเล็กในการสัญจรไปมา
การไฟฟ้า
ใช้กระแสไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอท่าตะโก
มีผู้ใช้ไฟฟ้าประมาณ 1,932 ราย
การประปา
ใช้น้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาคอำเภอท่าตะโก
มีผู้ใช้น้ำประปาประมาณ 2,540 ราย
การไปรษณีย์
มีสำนักงานไปรษณีย์โทรเลข สาขาท่าตะโก ให้บริการด้านการสื่อสาร
โทรศัพท์
มีศูนย์บริการลูกค้า สาขาท่าตะโก (บริษัท ทีโอที จำกัด มหาชน) จำนวน
1 แห่ง
การใช้ที่ดิน
จากสภาพโดยทั่วไปของพื้นที่เทศบาลตำบลท่าตะโก นอกจากอาชีพด้าน
พาณิชยกรรมแล้ว ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติอันใดที่จะส่งเสริมให้ประชาชนประกอบ
กิจกรรมอื่น นอกจากการทำเกษตรกรรม
ทำให้ลักษณะการใช้ดินส่วนใหญ่เป็นการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม
รองลงมาเป็นการใช้ที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย และประกอบการค้า ในอดีตประชาชนจะต้องถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่บริเวณวัดท่าตะโก
ริมคลองท่าตะโก หลังจากมีเส้นทางการคมนาคม (ถนนนครสวรรค์ – ไพศาลี)
ผ่านเข้ามาในชุมชน การตั้งถิ่นฐานของชุมชนจึงเปลี่ยนไป
ปัจจุบันประชาชนจะตั้งถิ่นฐานหนาแน่นบริเวณจุดศูนย์กลางของเทศบาลตำบลท่าตะโก
ได้แก่ ชุมชนตลาดแปดธันวา ชุมชนเจ้าแม่ราตรี
และต่อเนื่องไปจนถึงถนนข้างโรงสีไฟไทยส่งเสริมและตลาดสดที่อยู่ทางตอนใต้ของชุมชน
ทางด้านทิศเหนือของ ถนนนครสวรรค์ – ไพศาลี
แนวโน้มการขยายตัวของชุมชน
จากแผนงานพัฒนาชุมชนท่าตะโกตามผังโครงสร้างจังหวัดนครสวรรค์
ของกรมการผังเมือง ได้กำหนดให้อำเภอท่าตะโกเป็นศูนย์กลางเกษตรกรรม
และเป็นศูนย์การค้าระดับท้องถิ่น จากลักษณะการใช้ที่ดินปัจจุบัน
การขยายตัวของชุมชนจะเป็นไปในรูปแบบของชุมชนชนบท คือ มีการกระจายตัวออกไปอย่างหลวม
ๆ ผสมผสานกับพื้นที่เกษตรกรรมโดยย่านพาณิชยกรรมจะขยายตัวต่อเนื่อง
จากย่านพาณิชยกรรมเดิม ในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจขาลง
และลักษณะการเชื่อมโยงของอำเภอท่าตะโกกับอำเภออื่น ๆ การขยายตัวของที่อยู่อาศัย
จะขยายตัวไปตามถนนสายนครสวรรค์ – ไพศาลี
เนื่องจากเกิดความสะดวกสบายในการเดินทาง
การใช้ที่ดินในอนาคต
การใช้ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมลดลง และถูกแทนที่ด้วยที่พักอาศัยประเภท
บ้านจัดสรร บ้านเดี่ยว
และพื้นที่ว่างเปล่าที่อาจจะเกิดขึ้นจากการละทิ้งถิ่นฐานของประชาชนไปหางานทำในเขตเมือง
เพราะแหล่งงานภายในไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าตะโกได้
การใช้ที่ดินภายในชุมชนยังคงไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก
บริเวณชุมชนหนาแน่นยังคงต่อเนื่อง
โดยมีการใช้ดินปะปนกันระหว่างย่านพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากโดยมีแนวโน้มขยายตัวออกไป
ถนนข้างอู่อุดมการช่าง และจากถนนข้างโรงเลื่อย ตามแนวคลองน้ำ ไปจนสุดเขตเทศบาลของบริเวณที่อยู่อาศัยเดิม
สภาพทางเศรษฐกิจ
ประกอบอาชีพ
การประกอบอาชีพส่วนใหญ่ ประกอบธุรกิจด้านพาณิชยกรรม เช่น ค้าขาย
นอกจากนี้มีการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม เช่น การปลูกข้าว อ้อย เผือก
เป็นต้นและมีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก และมีการแปรรูปสินค้าเกษตร
เช่นโรงงานน้ำผลไม้ การทำลูกชิ้นหมู และหมูแผ่นที่มีชื่อเสียง
ในปัจจุบันเทศบาลได้มีการส่งเสริมอาชีพชุมชน เช่น ชุมชนโคกมะรื่นเหนือ
ได้มีการรวมกลุ่มประกอบธุรกิจจำหน่ายอุปกรณ์ครบวงจรในเรื่องของงานศพและดอกไม้ประดิษฐ์ต่าง
ๆ และยังมีโครงการส่งเสริมอาชีพให้แก่ชุมชนทุกชุมชนในเขตเทศบาล
กิจกรรมด้านพาณิชย์
อื่น ๆ
-ธนาคาร
3
แห่ง
-ห้างหุ่นส่วน
10
แห่ง
-ร้านค้าต่าง ๆ
162
แห่ง
-สถานที่บริการน้ำมัน
3
แห่ง
-โรงสีข้าวขนาดใหญ่
3
แห่ง
-ตลาดสด
1
แห่ง
-ตลาดเอกชน(ตลาดนัด)
3
แห่ง
-ร้านอาหาร
25
แห่ง
-สถานีขนส่งผู้โดยสาร
1
แห่ง
-สถานธนานุบาล
1
แห่ง
-โรงฆ่าสัตว์
1
แห่ง
โครงสร้างประชากร
จำนวนครัวเรือนในเขตเทศบาล 2,315 ครัวเรือน
จำนวนประชากร ชาย 2,923 คน หญิง 3,194 คน
รวม 6,117 คน
การศึกษา
ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
การศึกษา
มีโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 3
(ในเขตเทศบาล ตำบลท่าตะโก) จำนวน 4 โรงเรียน
คือ
โรงเรียนอนุบาลท่าตะโก
เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ของรัฐบาล)
มีนักเรียน ทั้งสิ้น 712 คน จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 34
คน แยกเป็น
- นักเรียน
ระดับอนุบาล
จำนวน 103 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 5 คน
- นักเรียนระดับ ป.1
– ป.4
จำนวน 404 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 16 คน
- นักเรียนระดับ ป.5
– ป.6
จำนวน 205 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 13 คน
โรงเรียนวัดท่าตะโก
เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ของรัฐบาล)
มีนักเรียน ทั้งสิ้น 113 คน จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 8 คน แยกเป็น
- นักเรียน
ระดับอนุบาล
จำนวน 5 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 2 คน
- นักเรียนระดับ ป.1
– ป.4
จำนวน 76 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 4 คน
- นักเรียนระดับ ป.5
– ป.6
จำนวน 32 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 2 คน
โรงเรียนสามมิตร
เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ของเอกชน)มีนักเรียน
ทั้งสิ้น 757 คน จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 34 คน แยกเป็น
- นักเรียน
ระดับอนุบาล
จำนวน 207 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 10 คน
- นักเรียนระดับ ป.1
– ป.4
จำนวน 350 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 11 คน
- นักเรียนระดับ ป.5
– ป.6
จำนวน 191 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 13 คน
โรงเรียนเสรี
เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 (ของเอกชน)มีนักเรียน
ทั้งสิ้น 58 คน จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 3 คน แยกเป็น
- นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
จำนวน 26 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 1 คน
- นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
จำนวน 10 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 1 คน
- นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จำนวน 22 คน
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 1 คน
หมายเหตุ : ครูพิเศษ 3 คน
แหล่งที่มาของข้อมูล : กองการศึกษา เทศบาลตำบลท่าตะโก: เมื่อ 18/6/2551
ด้านศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีศาสนาสถานในเขตเทศบาล จำนวน 7
แห่ง ได้แก่
- วัด 2 แห่ง
- คริสต์จักร 1 แห่ง
- ศาลเจ้า 4 แห่ง
ด้านการสาธารณสุข
มีสถานพยาบาลของรัฐ คือ โรงพยาบาลท่าตะโก เป็นโรงพยาบาลขนาด 60
เตียง นอกจากนี้ ยังมีคลินิคเอกชนอีก 4 แห่ง
ด้านชุมชนและการเคหะ
มีบ้านจัดสรร 7 แห่ง
ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจภูธรอำเภอท่าตะโก 1 แห่ง
- ตู้ยามกู้ภัยเอกชน 1 แห่ง
- อาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเทศบาลตำบลท่าคะโก 124 คน
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของเทศบาล มีวัสดุอุปกรณ์ ประกอบด้วย
- รถยนต์ดับเพลิง 2 คัน
- รถยนต์บรรทุกน้ำ 3 คัน
- รถยนต์ตรวจการณ์ 2 คัน
- เครื่องดับเพลิงชนิดหาบหาม 1 เครื่อง
- เครื่องสูบน้ำ ขนาด หน้า 8” 1 เครื่อง
แหล่งที่มาของข้อมูล
: งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
สำนักปลัดเทศบาล เทศบาลตำบลท่าตะโก: เมื่อ 18/6/2551
ทิศเหนือ
|
ติดต่อ
|
หมู่ที่ 10 ตำบลดอนคา และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าตะโก
|
ทิศใต้
|
ติดต่อ
|
หมู่ที่ 2 ตำบลทำนบ
|
ทิศตะวันออก
|
ติดต่อ
|
หมู่ที่ 1 ตำบลดอนคา
|
ทิศตะวันตก
|
ติดต่อ
|
หมู่ที่ 3 ตำบลท่าตะโก
|
ลักษณะอากาศเป็นแบบมรสุมเมืองร้อนแบ่งออกเป็น3 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน อากาศแห้งแล้งและร้อนจัด ระหว่างเดือนมีนาคม – พฤษภาคม ฤดูฝน มีฝนตกบ้างพอสมควรระว่างเดือนมิถุนายน – กันยายน
อาชีพหลักของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าตะโก ส่วนมากประกอบอาชีพค้าขาย เพราะอยู่ในเขตเมืองที่มีระบบสาธารณูปโภคและสาสาธารณูปการที่ครอบคลุมทั่วพื้นที่ และยังเป็นจุดศูนย์กลางของการคมนาคมและขนส่ง ผลผลิตทางการเกษตรจากหมู่บ้าน ตำบลรอบนอก ของอำเภอท่าตะโก ภายในเขตเทศบาลมีการทำการเกษตรเพียงเล็กน้อย เช่น ทำนา ทำไร่ และ ปศุสัตว์ เป็นต้น
การคมนาคม
ในเขตเทศบาลมีถนนเชื่อมติดต่อจังหวัดนครสวรรค์ คือ ถนนสายไพศาลี– ท่าตะโก – นครสวรรค์ นอกจากนี้ยังมีถนนสายรองเชื่อมต่อกับอำเภอหนองบัว อำเภอตากฟ้า อำเภอตาคลี โดยมีรถยนต์โดยสารขนาดใหญ่และขนาดเล็กในการสัญจรไปมา
การไฟฟ้า
ใช้กระแสไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอท่าตะโก มีผู้ใช้ไฟฟ้าประมาณ 1,932 ราย
การประปา
ใช้น้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาคอำเภอท่าตะโก มีผู้ใช้น้ำประปาประมาณ 2,540 ราย
การไปรษณีย์
มีสำนักงานไปรษณีย์โทรเลข สาขาท่าตะโก ให้บริการด้านการสื่อสาร
โทรศัพท์
มีศูนย์บริการลูกค้า สาขาท่าตะโก (บริษัท ทีโอที จำกัด มหาชน) จำนวน 1 แห่ง
จากสภาพโดยทั่วไปของพื้นที่เทศบาลตำบลท่าตะโก นอกจากอาชีพด้าน พาณิชยกรรมแล้ว ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติอันใดที่จะส่งเสริมให้ประชาชนประกอบ กิจกรรมอื่น นอกจากการทำเกษตรกรรม ทำให้ลักษณะการใช้ดินส่วนใหญ่เป็นการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม รองลงมาเป็นการใช้ที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย และประกอบการค้า ในอดีตประชาชนจะต้องถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่บริเวณวัดท่าตะโก ริมคลองท่าตะโก หลังจากมีเส้นทางการคมนาคม (ถนนนครสวรรค์ – ไพศาลี) ผ่านเข้ามาในชุมชน การตั้งถิ่นฐานของชุมชนจึงเปลี่ยนไป ปัจจุบันประชาชนจะตั้งถิ่นฐานหนาแน่นบริเวณจุดศูนย์กลางของเทศบาลตำบลท่าตะโก ได้แก่ ชุมชนตลาดแปดธันวา ชุมชนเจ้าแม่ราตรี และต่อเนื่องไปจนถึงถนนข้างโรงสีไฟไทยส่งเสริมและตลาดสดที่อยู่ทางตอนใต้ของชุมชน ทางด้านทิศเหนือของ ถนนนครสวรรค์ – ไพศาลี
จากแผนงานพัฒนาชุมชนท่าตะโกตามผังโครงสร้างจังหวัดนครสวรรค์ ของกรมการผังเมือง ได้กำหนดให้อำเภอท่าตะโกเป็นศูนย์กลางเกษตรกรรม และเป็นศูนย์การค้าระดับท้องถิ่น จากลักษณะการใช้ที่ดินปัจจุบัน การขยายตัวของชุมชนจะเป็นไปในรูปแบบของชุมชนชนบท คือ มีการกระจายตัวออกไปอย่างหลวม ๆ ผสมผสานกับพื้นที่เกษตรกรรมโดยย่านพาณิชยกรรมจะขยายตัวต่อเนื่อง จากย่านพาณิชยกรรมเดิม ในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจขาลง และลักษณะการเชื่อมโยงของอำเภอท่าตะโกกับอำเภออื่น ๆ การขยายตัวของที่อยู่อาศัย จะขยายตัวไปตามถนนสายนครสวรรค์ – ไพศาลี เนื่องจากเกิดความสะดวกสบายในการเดินทาง
การใช้ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมลดลง และถูกแทนที่ด้วยที่พักอาศัยประเภท บ้านจัดสรร บ้านเดี่ยว และพื้นที่ว่างเปล่าที่อาจจะเกิดขึ้นจากการละทิ้งถิ่นฐานของประชาชนไปหางานทำในเขตเมือง เพราะแหล่งงานภายในไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าตะโกได้ การใช้ที่ดินภายในชุมชนยังคงไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก บริเวณชุมชนหนาแน่นยังคงต่อเนื่อง โดยมีการใช้ดินปะปนกันระหว่างย่านพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากโดยมีแนวโน้มขยายตัวออกไป ถนนข้างอู่อุดมการช่าง และจากถนนข้างโรงเลื่อย ตามแนวคลองน้ำ ไปจนสุดเขตเทศบาลของบริเวณที่อยู่อาศัยเดิม
การประกอบอาชีพส่วนใหญ่ ประกอบธุรกิจด้านพาณิชยกรรม เช่น ค้าขาย นอกจากนี้มีการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม เช่น การปลูกข้าว อ้อย เผือก เป็นต้นและมีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก และมีการแปรรูปสินค้าเกษตร เช่นโรงงานน้ำผลไม้ การทำลูกชิ้นหมู และหมูแผ่นที่มีชื่อเสียง ในปัจจุบันเทศบาลได้มีการส่งเสริมอาชีพชุมชน เช่น ชุมชนโคกมะรื่นเหนือ ได้มีการรวมกลุ่มประกอบธุรกิจจำหน่ายอุปกรณ์ครบวงจรในเรื่องของงานศพและดอกไม้ประดิษฐ์ต่าง ๆ และยังมีโครงการส่งเสริมอาชีพให้แก่ชุมชนทุกชุมชนในเขตเทศบาล
-ธนาคาร
|
3
|
แห่ง
|
|
-ห้างหุ่นส่วน
|
10
|
แห่ง
|
|
-ร้านค้าต่าง ๆ
|
162
|
แห่ง
|
|
-สถานที่บริการน้ำมัน
|
3
|
แห่ง
|
|
-โรงสีข้าวขนาดใหญ่
|
3
|
แห่ง
|
|
-ตลาดสด
|
1
|
แห่ง
|
|
-ตลาดเอกชน(ตลาดนัด)
|
3
|
แห่ง
|
|
-ร้านอาหาร
|
25
|
แห่ง
|
|
-สถานีขนส่งผู้โดยสาร
|
1
|
แห่ง
|
|
-สถานธนานุบาล
|
1
|
แห่ง
|
|
-โรงฆ่าสัตว์
|
1
|
แห่ง
|
จำนวนครัวเรือนในเขตเทศบาล 2,315 ครัวเรือน จำนวนประชากร ชาย 2,923 คน หญิง 3,194 คน รวม 6,117 คน
การศึกษา
มีโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 3 (ในเขตเทศบาล ตำบลท่าตะโก) จำนวน 4 โรงเรียน คือ
เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ของรัฐบาล) มีนักเรียน ทั้งสิ้น 712 คน จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 34 คน แยกเป็น
- นักเรียน
ระดับอนุบาล
|
จำนวน 103 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 5 คน
|
||
- นักเรียนระดับ ป.1
– ป.4
|
จำนวน 404 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 16 คน
|
||
- นักเรียนระดับ ป.5
– ป.6
|
จำนวน 205 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 13 คน
|
เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ของรัฐบาล) มีนักเรียน ทั้งสิ้น 113 คน จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 8 คน แยกเป็น
- นักเรียน
ระดับอนุบาล
|
จำนวน 5 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 2 คน
|
||
- นักเรียนระดับ ป.1
– ป.4
|
จำนวน 76 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 4 คน
|
||
- นักเรียนระดับ ป.5
– ป.6
|
จำนวน 32 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 2 คน
|
เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ของเอกชน)มีนักเรียน ทั้งสิ้น 757 คน จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 34 คน แยกเป็น
- นักเรียน
ระดับอนุบาล
|
จำนวน 207 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 10 คน
|
||
- นักเรียนระดับ ป.1
– ป.4
|
จำนวน 350 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 11 คน
|
||
- นักเรียนระดับ ป.5
– ป.6
|
จำนวน 191 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 13 คน
|
เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 (ของเอกชน)มีนักเรียน ทั้งสิ้น 58 คน จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 3 คน แยกเป็น
- นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
|
จำนวน 26 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 1 คน
|
||
- นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
|
จำนวน 10 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 1 คน
|
||
- นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
|
จำนวน 22 คน
|
จำนวนบุคลากรครูผู้สอน 1 คน
|
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีศาสนาสถานในเขตเทศบาล จำนวน 7 แห่ง ได้แก่
- วัด 2 แห่ง
- คริสต์จักร 1 แห่ง
- ศาลเจ้า 4 แห่ง
มีสถานพยาบาลของรัฐ คือ โรงพยาบาลท่าตะโก เป็นโรงพยาบาลขนาด 60 เตียง นอกจากนี้ ยังมีคลินิคเอกชนอีก 4 แห่ง
มีบ้านจัดสรร 7 แห่ง
- สถานีตำรวจภูธรอำเภอท่าตะโก 1 แห่ง
- ตู้ยามกู้ภัยเอกชน 1 แห่ง
- อาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเทศบาลตำบลท่าคะโก 124 คน
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของเทศบาล มีวัสดุอุปกรณ์ ประกอบด้วย
- รถยนต์ดับเพลิง 2 คัน
- รถยนต์บรรทุกน้ำ 3 คัน
- รถยนต์ตรวจการณ์ 2 คัน
- เครื่องดับเพลิงชนิดหาบหาม 1 เครื่อง
- เครื่องสูบน้ำ ขนาด หน้า 8” 1 เครื่อง
อำเภอตาคลี
ข้อมูลทั่วไป
ประวัติความเป็นมา :
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตำบลตาคลี
ตั้งอยู่ตอนใต้ของจังหวัดนครสวรรค์ ห่างจากตัวจังหวัดนครสวรรค์ประมาณ 70 กิโลเมตร ตั้งอยู่ในตัวอำเภอตาคลี
การปกครองของตำบลตาคลี ประกอบด้วย 20 หมู่บ้านได้แก่
หมู่ที่ 1 บ้านถ้ำผาสุขใจ, หมู่ที่ 2
บ้านตาคลีใหญ่, หมู่ที่ 3 บ้านวังคาง, หมู่ที่ 4 บ้านดงพลับ,
หมู่ที่ 5 บ้านหนองสีนวล, หมู่ที่ 6 บ้านโคกกระดี่, หมู่ที่
7 บ้านหนองจิกรี, หมู่ที่ 8 บ้านดงป่าคลัก, หมู่ที่ 9 บ้านหนองขาม,
หมู่ที่ 10 บ้านสะพานปูน, หมู่ที่ 11 บ้านเขาดิน, หมู่ที่
12 บ้านทะเลหว้า, หมู่ที่ 13 บ้านชอนเดื่อ, หมู่ที่ 14 บ้านเขารอยเสือ,
หมู่ที่ 15 บ้านสระแก้ว, หมู่ที่ 16 บ้านดงมะกุ, หมู่ที่
17 บ้านเขาน้อย, หมู่ที่ 18 บ้านโพธิ์งาม, หมู่ที่ 19 บ้านสามมัคคี,
หมู่ที่ 20 บ้านหนองสีนวลเหนือ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สภาพทั่วไปของตำบล :
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตำบลตาคลี
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูก มีทางรถไปสายเหนือผ่าน
ลักษณะภูมิอากาศ ปกติมีอากาศอบอุ่นเหมือนภาคกลางทั่วไป แบ่งเป็น 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อาณาเขตตำบล :
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต.หัวหวาย
อ.ตาคลี และต.หนองพิกุล, ต.เขาชายธง
อ.ตากฟ้า
ทิศใต้ ติดต่อกับ ต.ช่องแค, ต.พรหมนิมิต, ต.หนองหม้อ อ.ตาคลี และ ต.เสือโฮก อ.เมืองชัยนาท จ.ชัยนาท ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต.เสือโฮก อ.เมืองชัยนาท จ.ชัยนาท ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต.ช่องแค อ.ตาคลี และต.เขาชายธง อ.ตากฟ้า จ.นครสวรรค์ |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
จำนวนประชากรของตำบล :
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
จำนวนประชากรในเขต อบต. 37,061 คน และจำนวนหลังคาเรือน 4,021 หลังคาเรือน
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูลอาชีพของตำบล :
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อาชีพหลัก ทำนา
อาชีพเสริม รับจ้างทั่วไป, การแปรรูปอาหาร, ทำขนม |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูลสถานที่สำคัญของตำบล :
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
1.วนอุทยานถ้ำเพชร-ถ้ำทอง
2.เขาเจดีย์ (เขากาซาก) 3.เขาถ้ำบุนนาค 4.แหล่งโบราณคดีบ้านชอนเดื่อ 5.แหล่งโบราณคดีบ้านสระแก้ว |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น